This programme belongs to a set of projects funded by the Thai Research Fund in order to gauge the performances of Vietnam in the economic and social fields and to draw lessons for Thailand. CELS was in charge of the human resources component and conducted research from June 2007-February 2008.
โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อทำความเข้าใจประเด็นเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนามเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับประเทศไทย ซึ่ง CELS ได้รับมอบหมายให้ศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาการเพื่อเตรียมเข้าสู่ตลาดแรงงาน งานวิจัยชิ้นนี้ดำเนินการในช่วงเดือนมิถุนายน 2550 ถึง กุมภาพันธ์ 2551
Labour capacity preparation encompasses all forms of education and training and other characteristics of the population. The analysis put special focus on the education system with emphasis on vocational and technical training.
การเตรียมศักยภาพของแรงงาน หมายรวมถึงการศึกษาและการฝึกอบรมทุกรูปแบบที่จัดให้กับประชาชน แต่งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นเฉพาะระบบการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมด้านอาชีวศึกษาและด้านช่างเทคนิค
The Vietnamese system seems to be more adapted to the needs of the labour market in this field, especially because it trains relatively more technicians than Thailand, and at a higher level. Although Thailand can devote more resources than Vietnam to education, the Vietnamese system seems more efficient because of stronger selection of students at all stages. However, recent changes in Vietnam could reverse the process, while Thailand is investing more in higher technical training. In both countries, involvement of companies in technical training is not sufficient and in both, employers complain about the quality of training.
ระบบการศึกษาของเวียดนามดูเหมือนว่าสามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับความต้องการด้านแรงงานของตลาดแรงงานได้ดีกว่าของไทยโดยเฉพาะการฝึกอบรมด้านในระดับช่างเทคนิค และระดับมหาวิทยาลัย แม้ว่าประเทศไทยจะสามารถให้โอกาสทางการศึกษาได้มากกว่าของเวียดนาม แต่ด้วยระบบการศึกษาที่ดูเหมือนว่ามีประสิทธิภาพมากกว่าของไทยโดยเฉพาะเวียดนามมีระบบการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาอย่างเข้มงวดในทุกระดับ อย่างไรก็ตามในระยะหลังเวียดนามมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตแรงงานซึ่งอาจก่อให้เกิดผลทางลบได้ ในขณะเดียวกันประเทศไทยได้ลงทุนเพื่อให้สามารถจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิคในระดับที่สูงขึ้นเพิ่มขึ้น แต่การผลิตแรงงานดังกล่าวของทั้งสองประเทศยังไม่สามารถขอความร่วมมือกับบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อฝึกฝนทักษะด้านเทคนิคให้กับนักศึกษาได้ ในขณะเดียวกันก็มีเสียงบ่นจากนายจ้างผู้ใช้แรงงานว่าคุณภาพที่เกิดจากการศึกษาและการฝึกทักษะในสถานศึกษาต่ำ
The study carried out by CELS showed that due to a slower growth of the labour force and to higher economic level and higher wages, Thailand will not be able to compete anymore with Vietnam in labour intensive technologies. Competition will also be hard in medium and high tech industries, since Vietnam is already trying to attract foreign investment in high tech and has become recently one of the biggest recipients of FDI in Southeast Asia.
การศึกษาครั้งนี้ได้ชี้ให้เห็นว่าจากสถานการณ์ที่แรงงานไทยพัฒนาช้า แต่ในขณะเดียวกันค่าแรงงานได้ถีบตัวขึ้นสูงตามสภาวะเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วนั้น ทำให้ประเทศไทยไม่สามารถแข่งขันกับเวียดนามในแง่ของการผลิตที่ใช้แรงงานราคาถูกได้อีกต่อไป ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ยังไม่สามารถแข่งขันกับการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลางและระดับสูงได้ เนื่องจากเวียดนามได้เตรียมตัวเพื่อรองรับการลงทุนจากต่างประเทศที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงไว้ด้วยการผลิตช่างเทคนิคที่มีคุณภาพ เวียดนามจึงจะกลายเป็นประเทศที่มีนักลงทุนจากต่างประเทศมากที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อทำความเข้าใจประเด็นเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเวียดนามเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับประเทศไทย ซึ่ง CELS ได้รับมอบหมายให้ศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาการเพื่อเตรียมเข้าสู่ตลาดแรงงาน งานวิจัยชิ้นนี้ดำเนินการในช่วงเดือนมิถุนายน 2550 ถึง กุมภาพันธ์ 2551
Labour capacity preparation encompasses all forms of education and training and other characteristics of the population. The analysis put special focus on the education system with emphasis on vocational and technical training.
การเตรียมศักยภาพของแรงงาน หมายรวมถึงการศึกษาและการฝึกอบรมทุกรูปแบบที่จัดให้กับประชาชน แต่งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นเฉพาะระบบการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมด้านอาชีวศึกษาและด้านช่างเทคนิค
The Vietnamese system seems to be more adapted to the needs of the labour market in this field, especially because it trains relatively more technicians than Thailand, and at a higher level. Although Thailand can devote more resources than Vietnam to education, the Vietnamese system seems more efficient because of stronger selection of students at all stages. However, recent changes in Vietnam could reverse the process, while Thailand is investing more in higher technical training. In both countries, involvement of companies in technical training is not sufficient and in both, employers complain about the quality of training.
ระบบการศึกษาของเวียดนามดูเหมือนว่าสามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับความต้องการด้านแรงงานของตลาดแรงงานได้ดีกว่าของไทยโดยเฉพาะการฝึกอบรมด้านในระดับช่างเทคนิค และระดับมหาวิทยาลัย แม้ว่าประเทศไทยจะสามารถให้โอกาสทางการศึกษาได้มากกว่าของเวียดนาม แต่ด้วยระบบการศึกษาที่ดูเหมือนว่ามีประสิทธิภาพมากกว่าของไทยโดยเฉพาะเวียดนามมีระบบการคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาอย่างเข้มงวดในทุกระดับ อย่างไรก็ตามในระยะหลังเวียดนามมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตแรงงานซึ่งอาจก่อให้เกิดผลทางลบได้ ในขณะเดียวกันประเทศไทยได้ลงทุนเพื่อให้สามารถจัดการศึกษาด้านอาชีวะและเทคนิคในระดับที่สูงขึ้นเพิ่มขึ้น แต่การผลิตแรงงานดังกล่าวของทั้งสองประเทศยังไม่สามารถขอความร่วมมือกับบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อฝึกฝนทักษะด้านเทคนิคให้กับนักศึกษาได้ ในขณะเดียวกันก็มีเสียงบ่นจากนายจ้างผู้ใช้แรงงานว่าคุณภาพที่เกิดจากการศึกษาและการฝึกทักษะในสถานศึกษาต่ำ
The study carried out by CELS showed that due to a slower growth of the labour force and to higher economic level and higher wages, Thailand will not be able to compete anymore with Vietnam in labour intensive technologies. Competition will also be hard in medium and high tech industries, since Vietnam is already trying to attract foreign investment in high tech and has become recently one of the biggest recipients of FDI in Southeast Asia.
การศึกษาครั้งนี้ได้ชี้ให้เห็นว่าจากสถานการณ์ที่แรงงานไทยพัฒนาช้า แต่ในขณะเดียวกันค่าแรงงานได้ถีบตัวขึ้นสูงตามสภาวะเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วนั้น ทำให้ประเทศไทยไม่สามารถแข่งขันกับเวียดนามในแง่ของการผลิตที่ใช้แรงงานราคาถูกได้อีกต่อไป ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ยังไม่สามารถแข่งขันกับการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีระดับกลางและระดับสูงได้ เนื่องจากเวียดนามได้เตรียมตัวเพื่อรองรับการลงทุนจากต่างประเทศที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงไว้ด้วยการผลิตช่างเทคนิคที่มีคุณภาพ เวียดนามจึงจะกลายเป็นประเทศที่มีนักลงทุนจากต่างประเทศมากที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Documents available เอกสารที่ท่านสามารถหารายละเอียดเพิ่มได้ ได้แก่
- abstract (in Thai + in English) บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
- final report (in Thai) รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์(ภาษาไทย)
- statistical appendixes สถิติในภาคผนวก
- discussion papers CELS Discussion Papers2008/2 CELS Discussion Papers 2008/3
- articles in the newspapers (in Thai) บทความในหนังสือพิมพ์(ภาษาไทย) เจาะลึกที่มาของประชากรไทยและเวียดนาม / ปัญหาประชากรและแรงงานอพยพข้ามชาติ / อาชีวศึกษาและช่างเทคนิค: เปรียบเทียบไทย-เวียดนาม
Link to Articles in the Newspapers about the Conference (in Thai)
No comments:
Post a Comment