Tuesday, December 23, 2008

Research Project: “Education, Identity, and Economy. Ten years of Educational Reform in Thailand” / โครงการวิจัย

Audrey Baron-Gutty and Supat Chupradit have teamed together on a common research project. Audrey is a visiting French PhD Student at the CELS; she is sponsored by IRASEC and is from Université de Lyon (Institute of Political Studies) / Institute of East Asian Studies IAO. Supat is a PhD student from Chiang Mai University; he is studying in PhD RED and has already been associated to several CELS works.
ออเดรย์ บารอน กัตตี้ และ สุภัทร ชูประดิษฐ์ ได้ร่วมกันศึกษาวิจัยในโครงการวิจัยนี้ ทั้งนี้ ออเดรย์ ซึ่งเป็นนักศึกษาปริญญาเอก สาขารัฐศาสตร์ ที่ได้มาทำการศึกษาวิจัยอยู่ ณ ศูนย์วิจัยเพื่อการศึกษาและแรงงาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาวิจัยจาก IRASEC และมหาวิทยาลัยลียง (สถาบันการเมืองศึกษา) / สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ประเทศฝรั่งเศส และสุภัทร ชูประดิษฐ์ ซึ่งเป็นนักศึกษาปริญญาเอก ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กำลังศึกษาในหลักสูตรการวิจัยและพัฒนาการศึกษา โดยทั้งสองคนได้ร่วมมือกันทำงานวิจัยนี้ ณ ศูนย์วิจัยเพื่อการศึกษาและแรงงาน (CELS)

The aim of the study is to examine how the educational reform in Thailand, starting in 1999, has tried to balance two challenges: safeguarding the Thai culture and identity, and ensuring a solid basis for Thailand in a world economy oriented toward knowledge-based and high-tech goals.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบถึงการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมาของประเทศไทยนั้นว่าเป็นเช่นไร นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยพยายามค้นหาความท้าทายระหว่าง 2 ประเด็น คือ 1) การธำรงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ วัฒนธรรมความเป็นไทย และ 2) ศักยภาพพื้นฐานของประเทศไทยภายใต้กระแสโลกที่อาศัยเศรษฐกิจฐานความรู้และการนำไปสู่เป้าหมายทางเทคโนโลยีสมัยใหม่

It is not only the drafting of the educational reform that shall be considered but also its implementation as the legislative texts are often far away from the reality. The National Education Act that launched the reform was voted in 1999 and we can therefore analyse ten years later how its provisions and visions have been implemented or have faced hurdles towards implementation.
การวิจัยนี้มิใช่เพียงการศึกษาจากตัวบทกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่อาจจะไกลเกินความเป็นจริง หากแต่เป็นการศึกษาถึงการนำตัวบทกฎหมายมาใช้ในทางปฏิบัติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งได้เริ่มนำมาปฏิบัติเกือบ 10 ปีของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นคณะนักวิจัยจึงได้ทำการวิเคราะห์ในช่วงเวลา 10 ปีที่มาผ่านว่าวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติอันจะนำไปสู่เป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษานั้นจะสามารถบรรลุหรือเผชิญกับปัญหาอุปสรรค หรือไม่

This on-going project (December 2008-May 2009) is based on in-depth field work and is a common initiative between CELS and IRASEC. It will eventually lead to a publication under IRASEC Occasional Papers Series, to be released in mid-2009.
การดำเนินโครงการวิจัยครั้งนี้ ใช้ระยะเวลาระหว่างเดือนธันวาคม 2551 ถึง พฤษภาคม 2552 โดยใช้ฐานวิจัยในการทำงานภาคสนามเชิงลึกและงานวิจัยนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของความร่วมมือทางวิชาการระหว่างศูนย์วิจัยเพื่อการศึกษาและแรงงาน (CELS) และ IRASEC ผลงานวิจัยดังกล่าวจะได้ทำการตีพิมพ์เผยแพร่ภายใต้ IRASEC Occasional Papers Series, โดยคาดว่าจะได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ราวกลางปี พ.ศ.2552

2 comments:

Anonymous said...

How do I get into contact if I want to know more about this study?

Cels.blog said...

Sorry for the delay in getting back to you.
The occasional paper will soon be downloadable from the IRASEC website www.irasec.com